--

--

วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

No. 15

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ


วัน เวลา วันอังคาร ที่ 25 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102
เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432

ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัย(Research)และโทรทัศน์ครู(Teachers TV)ของแต่ละคน 

โทรทัศน์ครู(Teachers TV)
การกำเนิดของเสียง 

= การใช้ช้อนซ้อม/โลหะที่มีคุณสมบัติต่างกันมาตีกัน

สารอาหารในชีวิตประจำวัน 

= นำแกงส้มมาแล้วนำกระดาษทดลองจุ่มลงไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ไฟฟ้าและพรรณพืช

= สำรวจ/สังเกตการเจริญเติบโตของพรรณพืชการทดลองโดยใช้กระแสไฟฟ้าทำกับน้ำเกิดOxygen ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช


วิจัย(Research) 
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย 

= การลงมือปฏิบัติ/คั้นน้ำจากผัก/ผลไม้/ดอกไม้เพื่อเอาสีมาทำผสมอาหารหรือทำงานศิลปะ

ผลการจัดกิจกรรมเรื่องแสงที่มัต่อทักษะการแสวงหาความรู้
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเครื่องดื่มสมุนไพร 

= การจำแนก/สังเกต/สื่อความหมายของข้อมูล

ต่อไปเป็นการทำ Waffle


ส่วนผสมและวิธีการทำนะคะ

ส่วนผสม                     1.แป้ง(Powder)                     2.เนย(Better)                     3.ไข่ไก่ (Egg)                    4.น้ำเปล่า(Water)


วิธีการทำ
1. นำแป้ง และไข่ไก่ตีให้เข้ากัน จากนั้นนำเนยใส่ผสมลงไปตีให้เข้ากันใส่น้ำลงไปเล็กน้อย


2. ตักใส่ภาชนะที่มีขนาดเล็ก(ตวง)


3. นำเนยทาแม่พิมพ์ และเทแป้งที่เราเตรียมไว้ใส่แม่พิมพ์ ปิดฝากรอ ไฟสีเขียวขึ้นเป็นอันว่าสุก


รูปร่างหน้าตาของขนมWaffleของพวกเราค่ะ

_____________________________________________________________________

 (◕‿◕✿)การนำไปใช้
                                    สามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟังเพื่อนออกมานำเสนอและที่อาจารย์อธิบายให้ฟังสามารถนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตได้เพราะบางกิจกรรมบางวิจัยที่ศึกษาสามารถนำมาปรับใช้กับการเรียนการสอนเด็กในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายให้กับเด็กได้เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์รวมถึงการทำWaffleสามารถนำวิธีการขั้นตอนการทำมาใช้สอนเด็กในอนาคตได้ซึ่งจะทำให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและได้ทักษะทางวิทยาศาสตร์อีกด้วยในเรื่องการสังเกต/การลงมือปฏิบัติ/การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการดม ชิมรส การสัมผัส ตาดู หูฟัง

(◕‿◕✿)การประเมิน
                      ตนเอง : มีความร่วมมือในการทำกิจกรรมและมีจิตอาสาในการล้างภาชนะหลังทำกิจกรรมเสร็จ.

                      เพื่อน : เพื่อนๆมีความร่วมมีในการทำกิจกรรมและตื่นเต้นในการทำWaffleอีกด้วย เพราในการทำเราทำเองและเรายังได้กินด้วยในผลงานของตัวเองทำ.

                     อาจารย์ : มีหลักการการสอน และจัดสื่อการสอนที่เป็นระบบง่ายต่อการสอนและเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ และนักศึกษาได้ทำกิจกรรมทุกคน.
จบการนำเสนอ
สุภาวดี พรมภักดิ์





วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

No. 14

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ


วัน เวลา วันอังคาร ที่ 18 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102
เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432

การจัดกิจกรรมการทำทาโกยากิTakoyaki-ขนมครกญี่ปุ่น


โต๊ะที่ 1 แครอท, หอม, ปูอัด (หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ)
oy
โต๊ะที่ 2 ไข่ไก่ (ตีไข่ให้เข้ากัน) 
โต๊ะที่ 3 นำแครอท, หอม, ปูอัด (หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ) ซอส, ขาว (ใส่ลงไปในไข่ที่เราตีให้เข้ากัน)

ภาพบรรยากาศในห้องเรียน ในการทำทาโกยากิTakoyaki-ขนมครกญี่ปุ่น

 (◕‿◕✿)การนำไปใช้
                      เราสามารถนำหลังการสอน การจัดว่างหมวดหมู่ขั้นตอนต่างๆในการทำทาโยะยากิไปสอนเด็กได้ และยังง่ายต่อการสอนเพราะในแต่ละอย่างทำเป็นขั้นตอนจึงทำให้เราสอนเด็กและทำกิจกรรมได้ง่ายขึ้นอีกด้วย.

(◕‿◕✿)การประเมิน
                      ตนเอง : มีความร่วมมือในการทำกิจกรรมและมีจิตอาสาในการล้างภาชนะหลังทำกิจกรรมเสร็จ.

                      เพื่อน : เพื่อนๆมีความร่วมมีในการทำกิจกรรมและตื่นเต้นในการทำทาโยะยากิอีกด้วย เพราในการทำเราทำเองและเรายังได้กินด้วยในผลงานของตัวเองทำ.

                     อาจารย์ : มีหลักการการสอน และจัดสื่อการสอนที่เป็นระบบง่ายต่อการสอนและเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจ และนักศึกษาได้ทำกิจกรรมทุกคน.
จบการนำเสนอ
สุภาวดี พรมภักดิ์



วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

โทรศัทน์ครู

Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
_________________________________________________________________
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
_________________________________________________________________
 

เรื่อง วิธิการสอนบูรณาการปฐมวัย 
              - เข้าเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยการสอนเป็นขั้นตอนบูรณาการเข้ากับวิทยาศาสตร์ตอนท้าย
              - การสังเกตไข่ลักษณะรูปร่าง รูปทรง สีของไข่ รสชาติของไข่
              - เด็กได้เรียนรู้ได้สัมผัสผิวไข่ ได้ชิมรสของไข่ การแยกประเภทของได้ ประโยชน์ของไข่ การนำไปประกอบอาหารของไข่
              - สุดท้ายการทำอาหารจากไข่เป็นการทดลองของวิทยาศาสตร์ โดยสังเกตว่าเมื่อไข่ถูกเทลงไปในน้ำที่ร้อนๆ แล้วทำไมไข่จึงสุกและเราสามารถนำมาประกอบอาหารของเราได้อีกด้วย

^^^^วีดีโอ เรื่องวิธีการสอนบูรณาการปฐมวัย^^^^

คลิกชมเพิ่มเติม

_______________________________________________________________________________

จบการนำเสนอ
สุภาวดี พรมภักดิ์


วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วิจัย

Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
_________________________________________________________________

วิจัย
การสรุปงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ชื่อวิจัย : การพัฒนาแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย
ชื่อผู้วิจัย : ประภาพร  เทพไพฑูรย์ 
มหาวิทยาลัยทักษิณ
บทคัดย่อ
                    การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย ซึ่งแบบทดสอบประกอบด้วย 7 ฉบับ คือ 
ฉบับที่ 1 ทักษะการสังเกต
ฉบับที่ 2 ทักษะการวัด
ฉบับที่ 3 ทักษะการจำแนกประเภท
ฉบับที่ 4 ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติ
ฉบับที่ 5 ทักษะการใช้ตัวเลข
ฉบับที่ 6 ทักษะการสื่อความหมายจากข้อมูล
ฉบับที่ 7 ทักษะการลงความเห็นเชิงโครงสร้าง
โดยหาคุณภาพของแบบทดสอบด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง ความยากง่าย อำนาจจำแนก ความเชื่อมั่น สร้างเกณฑ์ปกติ และคู่มือการใช้แบบทดสอบ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 375 คน เป็นนักเรียนชั้นปฐมวัยปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1 ผลการศึกษาพบว่า
                    คุณภาพของแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญพิจารณาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับพฤติกรรมบ่งชี้ มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.20 ถึง 1.00 สำหรับข้อที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องต่ำกว่า 0.70 ผู้วิจัยได้ทำการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ มีค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.61 ถึง 0.78 และค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.42 ถึง 0.77 ความเที่ยงตรงเชิงโครง์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวมทั้งฉบับพบว่ามีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.29 ถึง 0.69 ซึ้งมีระดับนัยสำคัญทางสติถิที่ 0.01 มีค่าความเชื่อมั่นตั้งแต่ 0.60 ถึง 0.69 และมีคะแนนที่ปกติอยู่ระหว่าง T1 ถึง T64 คลิกเพิ่มเติม

_______________________________________________________________________________

จบการนำเสนอ
สุภาวดี พรมภักดิ์

No.13

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 11 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102
เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
_____________________________________________________

เรื่อง รู้แบบการจัดการเรียนการสอนเด็กปฐมวัย

กลุ่มที่  

                                  หน่วยผลไม้///ใช้แผนวันจันทร์       

กลุ่มที่2

                                    หน่วยนกหงส์หยก///ใช้แผนวันอังคาร

กลุ่มที่3

                                    หน่วยข้าวโพด///ใช้แผนวันพุธ      

 กลุ่มที่

                                    หน่วยแตงโมง///ใช้แผนวันพฤหัสบดี

กลุ่มที่5 

                                    หน่วยกล้วย///ใช้แผนวันศุกร์        
กลุ่มที่6

                                    หน่วยช้าง///ใช้แผนวันจันทร์ 

กลุ่มที่

                                    หน่วยผีเสื้อ///ใช้แผนวันอังคาร       

กลุ่มที่

                                    หน่วยสัปปะรด///ใช้แผนวันพุธ

กลุ่มที่9 

                                    หน่วยส้ม///ใช้แผนวันพฤหัสบดี

______________________________________________________________________

รวมภาพกิจกรรมที่เพื่อนๆออกมานำเสนอหน้าห้องเรียน

(◕‿◕✿)ความรู้ที่ได้รับ/การนำไปใช้
                      ความรู้ที่ได้รับคือ การจัดการเขียนแผน การนำเสนอ การสอนเด็กๆ การพูดกับเด็กๆ การว่างตัวที่ดีในการเป็นครูปฐมวัย
                      การนำไปใช้คือ เราสามารถนำสิ่งที่เรียนรู้และสิ่งที่อาจารย์สอนให้คำแนะนำในครั้งนี้ไปปรับใช้กับเด็กและพัฒนาการเด็กให้ดีขึ้น และฝึกความสามารถในการสอนเด็กการว่างตัวของเราได้อีกด้วยในการอยู่หน้าห้องเรียน

(◕‿◕✿)การประเมิน
                      ตนเอง : การเขียนแผนที่ไม่ค่อยจะเข้าใจมากสักเท่าไร การตอบคำถามของอาจารย์ไม่ชัดเจนและจับใจความไม่ค่อยรู้เรื่อง การนำเสนองานที่ไม่ค่อยชัดเจนไม่ตรงกับเป้าหมายที่คุณครูว่างไว้
                      เพื่อน : เพื่อนๆบ้างกลุ่มมีความพร้อมในการนำเสนองานและจัดสรรค์เวลาได้ดีการนำเสนองานออกมาดีด้วย ส่วนบางกลุ่มก็จะไม่มีการนำเสนองานเพราะการการฟังและการสื่อสารกันค่อยข้างที่จะไม่ชัดเจนจึงทำให้บ้างกลุ่มไม่ได้เตรียมตัวออกมานำสนองาน
                     อาจารย์ : ยังคงสอนแบบคำถามปลายเปิด แต่บ้างครั้งบางหัวข้ออาจารย์ถามคำถามปลายเปิดมาเกินไป จึงทำให้การสื่อสารหรือการสั่งงานไม่ชัดเจนเพราะคำถามปลายเปิดเป็นคำถามที่ตอบได้หลายรูปแบบจึงทำให้การเรียนครั้งนี้ ไม่ตรงกลับเป้าหมายที่ครูว่างไว้ ก็คือจะมีบางกลุ่มเตรียมงานมานำเสนอและจะมีบางกลุ่มไม่ได้เตรียมงานมานำเสนอและบ้างกลุ่มนำงานมาแต่ไม่ตรงหัวข้อที่อาจารย์ตั้งคำถามไว้นั้นเอง
_______________________________________________________________________________
จบการนำเสนอ
สุภาวดี พรมภักดิ์



วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

No.12

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 4 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102
เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
________________________________________
*♥♥--/--^^" ..♥♥ .•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•:::


 (◕‿◕✿)การนำไปใช้
                      เมื่อเรียนรู้เข้าใจเล้วเราก็จะสามารถนำไปใช้กับเด็กได้ โดยการเขียนแผนเตรียมการสอนในการสอนแบบเป็นขั้นตอน

(◕‿◕✿)การประเมิน
                      ตนเอง : มีการจดบันทึกและกล้าตอบคำถามอาจารย์ในการเรียนการสอนของอาจารย์
                      เพื่อน : มีความร่วมมือในการเรียนการสอนของอาจารย์ ในการตอบคำถามและบทสนทนาในการสอนของอาจารย์
                     อาจารย์ : มีสื่อการสอนที่หน้าสนใจ และอธิบายเกี่ยวกับงานวิจัยการเขียนวิจัยได้แจ่มชัดและชัดเจน
จบการนำเสนอ
สุภาวดี พรมภักดิ์

วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

No.11

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 28 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102
เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
________________________________________
*♥♥--/--^^" ..♥♥ .•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•:::

...............................................................................................................

 (◕‿◕✿)การนำไปใช้
                      เมื่อเข้าเรียนรู้เข้าใจเล้วเราก็จะสามารถนำไปใช้กับเด็กได้ โดยการเรียนวิทยาศสตร์อย่างสนุกสนานและเข้าใจในวิทยาศาสตร์ไปได้อีกด้วย

(◕‿◕✿)การประเมิน
                      ตนเอง : มีการจดบันทึกและกล้าตอบคำถามอาจารย์ในการเรียนการสอนของอาจารย์
                      เพื่อน : มีความร่วมมือในการเรียนการสอนของอาจารยื ในการตอบคำถามและบทสนทนาในการสอนของอาจารย์
                     อาจารย์ : มีสื่อการสอนที่หน้าสนใจ การนำมาเสนอให้เห็นของจริง การได้เล่นจริงทำจริง
จบการนำเสนอ
สุภาวดี พรมภักดิ์