--

--

วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

No. 6

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 23 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102

เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:
✲✳❃❂❁❀✿✾✽✼✻✺✹✸✷✪
การนำเสนอบทความของเพื่อนๆในชั้นเรียน
น.ส.นภาวรรณ กรุดขุนเทียน

      ผู้เขียน: ครูลำพรรณี  มืดขุนทด 

หลังจากให้เด็กแต่ละกลุ่มช่วยกันนำเสนอผลงานผ่านภาพวาด และบันทึกคำพูดเด็กจากการสังเกต 
และเปรียบเทียบรูปร่างลักษณะและขนาดของไก่ และเป็ดอย่างอิสระ แล้วให้เด็กนำเสนอผลงานจากการสังเกตรูปร่างลักษณะของไก่และเป็ดผ่านภาพวาดบนกระดาน เด็กได้รู้ว่าไก่และเป็ดมีรูปร่างลักษณะต่างกัน โ
ดยค้นพบคำตอบด้วยตนเองจากการสังเกตและเปรียบเทียบ

......................................................................................................................
      น.ส.สุธาสิณี  ธรรมานนท์
       บทความเรื่อง  แนวทางให้เด็กทดลอวิทยาศาสตร์

       ผู้เขียน: ดร.เพกัญญา  พรหมขัติแก้ว
......................................................................................................................
น.ส.นฤมล อิสระ

       ผู้เขียน: มิสวัลลภา  ขุมหิรัญ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ  
ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสะบาย

เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่อยากรู้อยากเห็น  สามารถแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่  กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กสนใจวัตถุและเหตุการณ์ เด็กเล็กมีวิธีการเรียนรู้คล้ายวิทยาศาสตร์สามารถทำงานด้วยทักษะการแสวงหาความรู้  กิจกรรมวิทยาศาสตร์จะส่งเสริมความสามารถของเด็กในเรื่องการคิดวิเคราะห์และการพัฒนาการทางอารมณ์ เช่น เด็กมีความรู้สึกและเจตคติทางบวก
......................................................................................................................
น.ส.ยุพดี  สนประเสริฐ
บทความเรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร

ผู้เขียน: สสวท.
การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เพื่อเริ่มต้นทำความเข้าใจเกี่ยวกับโลกเรา 
อาศัยกิจกรรมที่นำไปสู่การค้นพบคำตอบเกี่ยวกับดิน น้ำ อากาศ และไฟ 
จากการทดลองค้นคว้าง่ายๆ ตามศักยภาพของเด็ก 
โดยกระตุ้นการเรียนรู้จากการตั้งคำถามและร่วมกันค้นหาคำตอบไปพร้อมๆ กัน

กิจกรรมในชั้นเรียน

"กังหันกระดาษ"


✲✳❃❂❁❀✿✾✽✼✻✺✹✸✷✪
*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:

`•.¸><((((º>การนำไปใช้

                   เมื่อเข้าเรียนรู้เข้าใจเล้วเราก็จะสามารถนำไปใช้กับเด็กได้ โดยการเรียนวิทยาศสตร์อย่างสนุกสนานและเข้าใจในวิทยาศาสตร์ไปได้อีกด้วย

`•.¸><((((º>การประเมิน

                   ตนเองในชั้นเรียน : มีการจดบันทึกเข้าใจในเนื้อหาของวิทยาศาสตร์ การทดลองวิทยาศาสตร์การนำไปใช้กับเด็กได้อย่างไร

                   เพื่อนในชั้นเรียน : ค่อยข้างตั้งใจเรียนและตอบคำถามของอาจาย์ ในการเรียนการสอนของอาจารยื

                   อาจารย์ผู้สอน : ยังคงใช้วิธีการสอนแบบถามตอบ ตั้งคำถามแบบปลายเปิดให้ผู้เรียนเข้าร่วมในการสอนของอาจารย์

*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:
✲✳❃❂❁❀✿✾✽✼✻✺✹✸✷✪
สุภาวดี พรมภักดิ์
ผู้นำเสนอ"

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น