--

--

วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

No. 6

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 23 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102

เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:
✲✳❃❂❁❀✿✾✽✼✻✺✹✸✷✪
การนำเสนอบทความของเพื่อนๆในชั้นเรียน
น.ส.นภาวรรณ กรุดขุนเทียน

      ผู้เขียน: ครูลำพรรณี  มืดขุนทด 

หลังจากให้เด็กแต่ละกลุ่มช่วยกันนำเสนอผลงานผ่านภาพวาด และบันทึกคำพูดเด็กจากการสังเกต 
และเปรียบเทียบรูปร่างลักษณะและขนาดของไก่ และเป็ดอย่างอิสระ แล้วให้เด็กนำเสนอผลงานจากการสังเกตรูปร่างลักษณะของไก่และเป็ดผ่านภาพวาดบนกระดาน เด็กได้รู้ว่าไก่และเป็ดมีรูปร่างลักษณะต่างกัน โ
ดยค้นพบคำตอบด้วยตนเองจากการสังเกตและเปรียบเทียบ

......................................................................................................................
      น.ส.สุธาสิณี  ธรรมานนท์
       บทความเรื่อง  แนวทางให้เด็กทดลอวิทยาศาสตร์

       ผู้เขียน: ดร.เพกัญญา  พรหมขัติแก้ว
......................................................................................................................
น.ส.นฤมล อิสระ

       ผู้เขียน: มิสวัลลภา  ขุมหิรัญ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ  
ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสะบาย

เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่อยากรู้อยากเห็น  สามารถแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่  กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กสนใจวัตถุและเหตุการณ์ เด็กเล็กมีวิธีการเรียนรู้คล้ายวิทยาศาสตร์สามารถทำงานด้วยทักษะการแสวงหาความรู้  กิจกรรมวิทยาศาสตร์จะส่งเสริมความสามารถของเด็กในเรื่องการคิดวิเคราะห์และการพัฒนาการทางอารมณ์ เช่น เด็กมีความรู้สึกและเจตคติทางบวก
......................................................................................................................
น.ส.ยุพดี  สนประเสริฐ
บทความเรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร

ผู้เขียน: สสวท.
การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เพื่อเริ่มต้นทำความเข้าใจเกี่ยวกับโลกเรา 
อาศัยกิจกรรมที่นำไปสู่การค้นพบคำตอบเกี่ยวกับดิน น้ำ อากาศ และไฟ 
จากการทดลองค้นคว้าง่ายๆ ตามศักยภาพของเด็ก 
โดยกระตุ้นการเรียนรู้จากการตั้งคำถามและร่วมกันค้นหาคำตอบไปพร้อมๆ กัน

กิจกรรมในชั้นเรียน

"กังหันกระดาษ"


✲✳❃❂❁❀✿✾✽✼✻✺✹✸✷✪
*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:

`•.¸><((((º>การนำไปใช้

                   เมื่อเข้าเรียนรู้เข้าใจเล้วเราก็จะสามารถนำไปใช้กับเด็กได้ โดยการเรียนวิทยาศสตร์อย่างสนุกสนานและเข้าใจในวิทยาศาสตร์ไปได้อีกด้วย

`•.¸><((((º>การประเมิน

                   ตนเองในชั้นเรียน : มีการจดบันทึกเข้าใจในเนื้อหาของวิทยาศาสตร์ การทดลองวิทยาศาสตร์การนำไปใช้กับเด็กได้อย่างไร

                   เพื่อนในชั้นเรียน : ค่อยข้างตั้งใจเรียนและตอบคำถามของอาจาย์ ในการเรียนการสอนของอาจารยื

                   อาจารย์ผู้สอน : ยังคงใช้วิธีการสอนแบบถามตอบ ตั้งคำถามแบบปลายเปิดให้ผู้เรียนเข้าร่วมในการสอนของอาจารย์

*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:
✲✳❃❂❁❀✿✾✽✼✻✺✹✸✷✪
สุภาวดี พรมภักดิ์
ผู้นำเสนอ"

วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปบทความ

 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
คณะศึกษาศาสตร์
เอกการศึกษาปฐมวัย

ชื่อวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
รหัสวิชา EAED 3207 จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5)

ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:
* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ .

บทความ <<คลิกเลยค่ะ 

Scientific skills for preschool childrenบทความทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

ผู้เขียนนานแฝงKroowut(ครูวรรณ)
                           เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา สูงที่สุดของชีวิต ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ควรจัด
กิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อันเป็นกระบวนการขั้นพื้นฐานหรือทักษะเบื้องต้นที่ควรส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา มี 7 ทักษะกระบวนการ คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการวัด ทักษะการสื่อความหมาย ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับเวลา และทักษะการคำนวณ มีรายละเอียดของแต่ละทักษะดังนี้














บทสรุป

             จากที่กล่าวมาแล้วสรุปได้ว่า การกระตุ้นให้เด็กปฐมวัยได้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นั้น ควรจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการขั้นพื้นฐาน หรือทักษะเบื้องต้นที่ควรส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา มี 7 กระบวนการ ดังนี้ คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการวัด ทักษะการสื่อความหมาย ทักษะการลงความเห็น ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับเวลา และทักษะการคำนวณ
<-•´¯`•.¸¸.•´¯`•._.•`•.¸¸.•´¯`•._.•`•.¸¸.•´¯`•._.•´¯`•.¸><((((º>
จบการรายงาน

นางสาวสุภาวดี พรมภักดิ์

No. 5

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
คณะศึกษาศาสตร์
เอกการศึกษาปฐมวัย

ชื่อวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
รหัสวิชา EAED 3207 จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5)

ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 16 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 
ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102
เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:

<-•´¯`•.¸¸.•´¯`•._.•`•.¸¸.•´¯`•._.•`•.¸¸.•´¯`•._.•´¯`•.¸><((((º>


               เริ่มเข้าสู่เนื้อหาบทเรื่อง อาจารย์เปิดเพลงเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ให้เราฟังและบรรยายเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ยินในเนื้อหาของเพลง

อาจารย์สั่งงาน แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5คน ให้คิดชื่อเรื่องมาหนึ่งเรื่องที่เราสนใจมานำเสนอ
โดยที่อาจารย์มีกระดาษชาร์ท
ต่อด้วย การนำเสนอบทความของเพื่อน 2คน
ดังต่อไปนี้

....................................................................................................................................

1 นางสาววีนัส  ยอดแก้ว นำเสนอเรื่องหลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัย จำเป็นหรือไม่?
เขียนโดย อาจารย์ชุติมา  เตมียสถิต

 “หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัยมีความจำเป็นหรือไม่” 

เป็นคำถามที่นักการศึกษาและผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับด้านปฐมวัยในประเทศสอบถามมากมาย

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัย เป็นการส่งเสริมครูปฐมวัยให้สามารถจัดประสบการณ์ในรูปของกิจกรรมบูรณาการที่สามารถช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยได้อย่างครบถ้วนทุกด้าน โดยไม่จำเป็นต้อง แยกออกมาสอนเป็นวิชาวิทยาศาสตร์  เพียงแต่ครูปฐมวัยควรจะตระหนักรู้ว่ากิจกรรมที่จัดให้กับเด็กในแต่ละช่วงเวลานั้น เป็นการส่งเสริมทักษะและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์อะไรให้กับเด็กๆ และควรจะจัดกิจกรรมอย่างไรเพื่อจะสามารถตอบสนองและต่อยอดธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างเป็นระบบ 

....................................................................................................................................

2 นางสาวเจนจิรา  บุตรช่วง  นำเสนอเรื่องสอนลูกเรื่องพืช
เขียนโดย อาจารย์นิติธร  ปิลวาสน์

พืช อยู่ในสาระที่ควรรู้เกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 การจัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กเรียนรู้เรื่องพืช นอกจากเด็กจะมีความรู้เกี่ยวกับชนิดของพืชต่างๆแล้ว ยังสามารถจัดกิจกรรมโดยใช้พืชเป็นสื่อเพื่อส่ง เสริมพัฒนาการให้กับเด็กปฐมวัยได้พัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา รวมทั้งพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทางด้านต่างๆ ผ่านการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมในระดับปฐมวัย

                    การเรียนรู้เรื่องพืชสามารถส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ดังนี้
                    1. ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย การจัดกิจกรรมให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายเป็นต้นไม้ที่ถูกลมพัดโอนเอน ทำให้เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายทางด้านการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ เช่น แขน ขา ลำตัว และการทรงตัว เป็นต้น
                    2. ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ ทำให้เด็กรู้สึกผ่อนคลายทางด้านอารมณ์และความรู้สึกด้วยการร้อยดอกไม้ การให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการกับดอกไม้ ทำให้เด็กสนุกสนาน และส่งเสริมการจินตนาการด้านการเคลื่อน ไหว
                    3. ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสังคม การเรียนรู้เรื่องผักด้วยการได้ประกอบอาหารร่วมกันกับเพื่อน ทำให้เด็กเรียนรู้ที่จะทำงานร่วมกับ
                    4. ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา การจัดกิจกรรมให้เด็กทดลองปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ เด็กจะได้พัฒนาทักษะพื้น ฐานทางด้านคณิตศาสตร์ จากการวัดส่วนสูงของพืชที่ปลูกเป็นรายสัปดาห์ การนับจำนวนดอกไม้ การคาดคะเน และเรื่องของเวลาที่ใช้การปลูก 


*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:

 (◕‿◕✿)การนำไปใช้
                      จากที่เริ่มเข้าสู่บทเรียนด้วยเพลง ทำให้เรามีสมาธิขึ้นรู้จักฟังและคิด และยังช่วยในการเก็บตกนักศึกษาที่เสียงดังให้มีความตั้งใจเรียนและฟังบทเพลงไปพร้อมๆกันชอบในการเปิดเพลงก่อนเข้าสู่บทเรียน"

(◕‿◕✿)การประเมิน
                      ตนเอง : มีการจดบันทึกและกล้าตอบคำถามอาจารย์ในการเรียนการสอนของอาจารย์
                      เพื่อน : มีความร่วมมือในการเรียนการสอนของอาจารยื ในการตอบคำถามและบทสนทนาในการสอนของอาจารย์
                     อาจารย์ : มีสื่อการสอนที่หน้าสนใจ ตัวอย่างเช่นการหมุนกระดาษให้มีผลไม้อยู่ในตะกร้า
จบการนำเสนอ
สุภาวดี พรมภักดิ์

วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

ความรับของแสง

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
คณะศึกษาศาสตร์
เอกการศึกษาปฐมวัย

ชื่อวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
รหัสวิชา EAED 3207 จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5)

ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:*♥♥--/--^^" ..♥♥ .•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•:::
>>>>สรุป ความรับของแสง"<<<<

*♥♥--/--^^" ..♥♥ .•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•:::
*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:

การนำไปใช้ประยุกต์ใช้
               สามารถนำไปใช้ในการสอนเด็ก เรียนรู้เกี่ยวกับแสงการเดินทางของแสง แสงมีความสำคัญกับเราในการดำรงชีวิต ตัวอย่างเช่น การมองเห็น การมองเห็นนั้นแสงจะกระทะวัตถุแล้วส่งมาที่ตาเราจึงทำให้เรามองเห็นเสมอ

การประเมิน

              ตนเอง : ทำงานล้าช้าในการทำงาน แต่ผลงานก็ออกมาดีและตรงเวลา

จบการนำเสนอ
สุภาวดี  พรมภักดิ์