--

--

วันพุธที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2557

No.10

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 21 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102
เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
________________________________________
*♥♥--/--^^" ..♥♥ .•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•:::

การบันทึกในชั้นเรียน
วันนี้เราเรียน 2เรื่อง 

ได้แก่

 1.การนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของเล่นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาแต่ละบุคคล


 2. การประดิษฐ์ของเล่นจากแกนทิชชู่

อุปกรณ์
                          1.แกนทิชชู่
                          2.ไหมพรม
                          3.กระดาษ(วาดรูป)
                          4.สี(ตกแต่งความสวยงาม)
                          5.ที่เจาะรู
                          6.กรรไกร
วิธีการทำ
                         1.ตัดแกนทิชชู่แบ่งเป็น 2ชิ้นด้วยกัน
                         2.เจาะรู 2ฝังรวมทั้งหมดเป็น 4รู
                         3.รอยไหมพรม มัดต่อกัน
                         4.วาดรูปตกแต่งใส่กระดาษให้สวยงามและมาติดแปะ

วิธีการเล่น


___________________________________________________________________

..♥♥ .•*การนำไปใช้
                  สามารถดูและศึกษาสิ่งประดิษฐ์ของเพื่อนๆไปต่อยอดในการสอนเด็กได้ และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่น่าสนใจเพราะแต่ลพชิ้นงานหรือผลงานประดิษฐ์งานและค่าใช้จ่ายไม่มีราคาแพงมากนัก และยังเป็นสิ่งประดิษฐ์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อีกด้วย นำไปอธิบายหรือบรรยายทดลองเล่นน่าจะสนุกและเด็กๆสนใจมากขึ้น
..♥♥ .•*การประเมิน
                  ตนเอง : รู้จักการตอบคำถามและหาคำตอบมาตอบคำถามหรือมาอธิบายได้ดีมากและตรงจุดที่อาจารย์ต้องการ
                  เพื่อน : น่ารักตั้งใจเรียน สิ่งประดิษฐ์ของเพื่อนแต่ละคนน่ารักมาก
                  อาจารย์ : ในการที่มีเพื่อนๆออกไปนำเสนอสิ่งประดิษฐ์แต่ละชิ้นงานอาจารย์จะให้คำแนะนำที่ดีมากและสามารถทำให้เรารู้จักคิดและหาคำตอบเอง

___________________________________________________________________
นางสาวสุภาวดี  พรมภักดิ์
ผู้บันทึก

สื่อประดิษฐ์วิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

________________________________________
*♥♥--/--^^" ..♥♥ .•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•:::

สื่อประดิษฐ์วิทยาสตร์

ชื่อ
>>หลอนเป่าลูกปิงปองลอยได้<<

         อุปกรณ์
                              1. กรรไกร
                              2. หลอด
                              3. ลวด
                              4. ลูกปิงปอง

         วิธีทำ
                              1. ขดลวดให้เป็นรูปกรวยขนาดเท่ากับลูกปิงปองดังรูป

                               2. ตัดลวดและนำมาต่อเข้ากับปลายหลอดมัดให้แน้

           วิธีการเล่น

                ลม คือ กระแสอากาศที่เคลื่อนที่ในแนวนอน ส่วนกระแสอากาศคือ อากาศที่เคลื่อนที่ในแนวตั้ง การเรียกชื่อลมนั้นเรียกตามทิศทางที่ลมนั้นๆ พัดมา เช่น ลมที่พัดมาจากทิศเหนือเรียกว่า ลมเหนือ และลมที่พัดมาจากทิศใต้เรียกว่า ลมใต้ เป็นต้น ในละติจูดต่ำไม่สามารถจะคำนวณหาความเร็วลม แต่ในละติจูดสูงสามารถคำนวณหาความเร็วลมได้

                ทำไมลูกปิงปองถึงลอยได้ เพราะลมที่ถูกส่งผ่านไปตามหลอดไปรวมที่ๆจุดเดียวกันจึงทำให้ลูกปิงปองที่มีน้ำหนักเบาลอยขึ้นมาได้"

_________________________________________________________________
นางสาวสุภาวดี  พรมภักดิ์
ผู้บันทึก

อากาศมหัศจรรย์

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
...............................................................................................................

                             *.♥♥..เรื่อง อากาศมหัศจรรย์..♥♥ .•*

*.: *゚・✿..:* *.:。✿*゚・✿..:* *.:。✿*¨゚✎・ ..:* *.:。✿*¨゚✎・✿..:


..♥♥ .•*ความสำคัญของอากาศและบรรยากาศ 

อากาศและบรรยากาศมีความสำคัญ ดังนี้

                          1.มีก๊าซที่จำเป็นต่อการมีชีวิตของมนุษย์ สัตว์และพืช

                          2.มีอิทธิพลต่อการเกิด ปริมาณ และคุณภาพของทรัพยากรอื่น เช่น ป่าไม้และแร่ธาตุ

                          3.ช่วยปรับอุณหภูมิของโลก โดยเฉพาะไอน้ำและคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งจะช่วยป้องกันการสูญเสียความร้อนจากพื้นดิน ทำให้ความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวันกับกลางคืน และ ฤดูร้อนกับฤดูหนาวไม่แตกต่างกันมาก และทำให้บริเวณผิวโลกมีความอบอุ่นขึ้น

                         4.ทำให้เกิดลมและฝน

                         5.มีผลต่อการดำรงชีวิต สภาพจิตใจ และร่างกายของมนุษย์ ถ้าสภาพอากาศไม่เหมาะสม เช่น แห้งแล้งหรือหนาวเย็นเกินไปคนจะอยู่อาศัยด้วยความยากลำบาก

                         6.ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีของดวงอาทิตย์ โดยก๊าซโอโซนในบรรยากาศจะกรองหรือดูดซับรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งทำให้ผิวไหม้เกรียม เป็นโรคมะเร็งผิวหนัง และโรคต้อกระจก

                         7.ช่วยเผาไหม้วัตถุที่ตกมาจากฟ้าหรืออุกกาบาตให้กลายเป็นอนุภาคเล็กๆ จนไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และทรัพย์สิน

                         8.ทำให้ท้องฟ้ามีสีสวยงาม โดยอนุภาคของสิ่งอื่นที่ปนอยู่กับก๊าซในบรรยากาศจะทำให้แสงหักเห เราจึงมองเห็นท้องฟ้ามีแสงสีที่งดงามแทนที่จะเห็นเป็นสีดำมืด นอกจากนี้ก๊าซโอโซนซึ่งมีสีน้ำเงินยังช่วยให้มองเห็นท้องฟ้าเป็นสีครามหรือสีฟ้าสดใสอีกด้วย

_________________________________________________________________
นางสาวสุภาวดี  พรมภักดิ์
ผู้บันทึก

MindMapกล้วย

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ

________________________________________
*♥♥--/--^^" ..♥♥ .•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•:::

MindMap
เรื่อง กล้วย"

_________________________________________________________________
นางสาวสุภาวดี  พรมภักดิ์
ผู้บันทึก

วันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2557

No.9

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 14 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102
เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
________________________________________
*~ ♥♥--/--^^" ..♥♥ .•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•:::

*♥♥--/--^^" ..♥♥ .•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•*´¨`*•.¸¸.•:::
__________________________________________________________________

..♥♥ .•*การนำไปใช้
                  สามารถนำรูปแบบการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไปในการสอน การนำสิ่งประดิษฐ์ที่เพื่อนๆออกมานำเสนอไปจัดเป็นสื่อการเรียนการสอนให้กันเด็กๆได้ในวิทยาศาสตร์
..♥♥ .•*การประเมิน
                  ตนเอง : ตั้งใจเรียนมีการจดบันทึกในการสอนของอาจารย์ ตอบคำถามในการสอนของอาจารย์ ประดิษฐ์สื่อวิทยาศาสตร์มาเสนอหน้าห้องเรียน
                  เพื่อน : น่ารักตั้งใจเรียน แต่อาจมีเสียงดังเล็กน้อยถึงปานกลาง
                  อาจารย์ : ใช้การสอนแบบปลายเปิด สอนได้ตั้งคำถามในการสอนไปด้วยทำให้เราเข้าใจการเรียนได้ง่ายขึ้น และอธิบายในการเรียนการสอนทำข้อตกลงให้กับนักศึกษาในการเรียนการสอนของอาจารย์

_________________________________________________________________
นางสาวสุภาวดี  พรมภักดิ์
ผู้บันทึก

No. 8

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood
ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 7 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102

เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
________________________________________

ไม่มีการเรียนการสอน

หมายเหตุเนื่องจาก เป็นสัปดาห์แห่งการสอบกลางภาคเรียน1/2557
_______________________________________________________________
นางสาวสุภาวดี  พรมภักดิ์
ผู้บันทึก

No. 7

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Science Experiences Management for Early Childhood

ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน เวลา วันอังคาร ที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 ภาคเรียนที่ 1/2557 กลุ่ม 102

เวลา 14:10 - 17:30 น. ห้อง 432
___________________________________________________
ไม่มีการเรียนการสอน
หมายเหตุเนื่องจาก อาจารย์ติดสัมนา เรื่องจิตอาสาตามรอยแนวคิดเศฐกิจพอเพียง จึงให้นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย

________________________________________________________________
นางสาวสุภาวดี  พรมภักดิ์
ผู้บันนทึก